การทำงานเสียก่อน ซึ่งในส่วนนี้ขอแนะนำแนวคิดในการทำงานอย่างมี
ประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ ไม่ต้องมาแก้ไขในภายหลัง
โดยมีลำดับแนวคิดในการสร้างสรรค์งานวิดีโอเบื้องต้น ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard คือ การจินตนาการฉากต่างๆ ขึ้นมาก่อน
ที่จะไปถ่ายทำจริง เพื่อจะทำให้ฉากและภาพที่มีองค์ประกอบต่างๆ
ตรงตามความต้องการมากที่สุด และเพื่อป้องกันการตกหล่นในระหว่าง
ทำเพราะถ้าถ่ายซ่อมทีหลังจะไม่สะดวก
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมองค์ประกอบต่างๆ ที่ต้องใช้
การทำงานวิดีโอจะเป็นต้องเตรียมองค์ประกอบต่างๆ ตั้งแต่ไฟล์วิดีโอ
ไฟล์เสียงดนตรีให้พร้อม เพื่อช่วยให้การทำงานรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีแหล่งต่างๆ
ดังนี้
- ไฟล์วิดีโอจากภาพยนต์ หรือสารคดี ข่าว
- การถ่ายทำวิดีโอเอง
- การเตรียมไฟล์เสียงและบรรยาย
ขั้นตอนที่ 3 การตัดต่อวิดีโอ (ให้สอดคล้องกับ StoryBoard ที่วางไว้)
เป็นการนำองค์ประกอบต่างๆ ที่เตรียมไว้มาตัดต่อเป็นงานวิดีโอ
ขั้นตอนตัดต่อคือ
1. Capture (จับภาพจากกล้อง/ดึงข้อมูลวีดีโอจากแผ่น CD/DVD)
2. Edit (แก้ไข/ตัดต่อ)
3. Effect (ใส่เอ็ฟเฟ็กต์)
4. Overlay (ทำภาพซ้อน)
5. Title (ใส่ตัวหนังสือ)
6. Audio (ใส่ดนตรีประกอบ/บันทึกเสียงบรรยาย)
7. Share (บันทึกวีดีโอที่ตัดต่อแล้ว ลงสื่อต่างๆ)
ขั้นตอนต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น สามารถข้ามไปยังส่วนอื่นได้
เช่น อาจจะไปใส่ดนตรีประกอบก่อน แล้วมาใส่ตัวหนังสือภายหลังก็ได้
หรือเมื่อตัดต่อเสร็จในข้อ 2 แล้วก็อาจจะไปเลือกข้อ 7 เพื่อเขียนลงแผ่น
ก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทำครบทุกขั้นตอน ซึ่งขึ้นอยู่กับว่า คุณจะตัดต่อวีดีโอ
อย่างไร และต้องทำอะไรบ้างในการตัดต่อ
ขั้นตอนต่างๆ ในการตัดต่อวีดีโอ
Capture เมื่อเปิด project ใน Ulead แล้ว ในขั้นตอน Capture นี้
คุณสามารถที่จะบันทึกวีดีโอจากกล้องวีดีโอดิจิตอลเป็นไฟล์ลงในคอมพิวเตอร์ได้
วีดีโอที่บันทึกจากกล้องลงคอมพิวเตอร์นั้น สามารถที่จะบันทึกเป็นไฟล์เพียง
ไฟล์เดียว หรือให้แยกเป็นไฟล์ได้หลายๆ ไฟล์โดยอัตโนมัติ และในขั้นตอน
การจับภาพนี้ นอกจากคุณจับภาพวีดีโอแล้วยังสามารถที่จะบันทึกภาพจาก
วีดีโอเป็นภาพนิ่งได้อีกด้วย
Edit ขั้นตอนการแก้ไขและ Timeline นี้ เป็นจุดสำคัญของการใช้
Ulead VideoStudio ในขั้นตอนนี้คุณสามารถที่จะเรียงลำดับคลิปวีดีโอ
ที่ถ่ายมาแต่ไม่ได้เรียงลำดับเหตุการณ์กัน ก็มาเรียงลำดับเหตุการณ์ใน
ขั้นตอนนี้ หรือแทรกคลิปวีดีโออื่นๆ เข้ามาในกระบวนการตัดต่อ เช่น
หลังจากที่คุณจับภาพมาจากกล้องแล้ว เห็นว่าคลิปวีดีโอที่มีอยู่ในเครื่อง
เหมาะสม น่าที่จะนำมาแทรกในบางช่วงของวีดีโอที่คุณกำลังตัดต่อ
ก็สามารถทำได้ กรณีที่มีคลิปวีดีโอเพียงไฟล์เดียว เช่น จับภาพวีดีโอ
มาเป็นไฟล์เดียว ไม่ได้แยกไฟล์เป็นหลายๆ ส่วนก็สามารถตัดแยก
scene วีดีโอได้ เพื่อใส่เอ็ฟเฟ็กต์ระหว่าง scene ลบคลิปวีดีโอที่ไม่
ต้องการออก ตัดคลิปวีดีโอบางส่วนที่ถ่ายเสียหรือไม่ต้องการออก
และการใส่วีดีโอฟิลเตอร์ (เช่น การใส่ตัวฟิลเตอร์ ฝนตกในคลิปวีดีโอ
ทำให้คลิปวีดีโอนั้นดูเหมือนมีฝนตกจริงๆ ) ก็สามารถทำได้ในขั้นตอนนี้เช่นกัน
Effect ในขั้นตอนนี้ ให้คุณสามารถใส่ทรานสิชั่น (transition)
ระหว่างคลิปวีดีโอใน project ซึ่งใน Ulead นี้จะมีกลุ่มของทรานสิชั่นต่างๆ
ให้เลือกอย่างมากมายใน Library ทรานสิชั่น เป็นเอ็ฟเฟ็กต์ที่ใส่ไว้ในระหว่างคลิป
ทำให้วีดีโอดูน่าสนใจยิ่งขึ้น เช่น ฉากที่ค่อยๆ จางหายไปจนมืด แล้วก็มีฉากถัดไป
ที่จางแล้วค่อยๆ ชัดเจนขึ้น หรือในระหว่างที่มีการเปลี่ยนฉากนั้น จะมีภาพซ้อนกัน
ของทั้งสองฉาก เป็นต้น นี่เป็นการใส่ทรานสิชั่นนั่นเอง
Overlay ขั้นตอนนี้เป็นการซ้อนคลิปวีดีโอบนคลิปวีดีโอที่มีอยู่ เหมือนกับ
ที่เราดูโทรทัศน์ ที่มีการสัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับดารา แล้วก็มีกรอบเล็กๆ เป็นภาพ
ของดาราที่กำลังดูบุคคลอื่นพูดถึงตนเองอยู่
Title ใส่ตัวหนังสือในวีดีโอ เช่น ชื่อเรื่องวีดีโอ แสดงชื่อบุคคล หรือตัวหนังสือ
ปิดท้ายวีดีโอ ใครถ่ายทำถ่ายเมื่อไหร่ ที่ไหน เป็นต้น สามารถที่จะสร้างตัวหนังสือ
แบบเคลื่อนไหวได้ มีมากมากหลายแบบ เช่น ตัวหนังสือลอยจากจอภาพด้านล่าง
ขึ้นไปด้านบน เหมือนกับตัวหนังสือเมื่อดูภาพยนตร์ตอนจบ หรือจะวิ่งจากด้านขวามือ
มาซ้ายมือ หรือจะเลือกชุดสำเร็จรูปจาก Library ก็ได้
Audio ขั้นตอนนี้สำหรับใส่ดนตรีประกอบวีดีโอ สามารถเลือกเพลงจากแผ่น
CD แล้วบันทึกมาเป็นไฟล์ ทำดนตรีประกอบได้ บันทึกเสียงบรรยายวีดีโอ รวมทั้ง
การปรับแต่งเสียงต่างๆ เช่น ลดเสียงในวีดีโอต้นฉบับ ในบางช่วงขณะที่บันทึกเสียง
บรรยายลงไป เพื่อให้ได้ยินเสียงบรรยายชัดเจนมากยิ่งขึ้น หรือปรับระดับเสียง
ของดนตรีประกอบ เป็นต้น
Share ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนสุดท้าย เมื่อตัดต่อวีดีโอเสร็จแล้ว ก็จะเป็น
สร้างไฟล์วีดีโอสำหรับเผยแพร่ผลงาน สามารถทำได้หลายแบบ เช่น สร้างไฟล์
วีดีโอสำหรับเผยแพร่ผลงานบนเว็บ เขียนวีดีโอที่ตัดต่อเสร็จแล้วกลับลงเทป
อีกครั้ง เขียนลงแผ่น CD เป็น VCD หรือเขียนลง DVD
ประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ ไม่ต้องมาแก้ไขในภายหลัง
โดยมีลำดับแนวคิดในการสร้างสรรค์งานวิดีโอเบื้องต้น ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard คือ การจินตนาการฉากต่างๆ ขึ้นมาก่อน
ที่จะไปถ่ายทำจริง เพื่อจะทำให้ฉากและภาพที่มีองค์ประกอบต่างๆ
ตรงตามความต้องการมากที่สุด และเพื่อป้องกันการตกหล่นในระหว่าง
ทำเพราะถ้าถ่ายซ่อมทีหลังจะไม่สะดวก
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมองค์ประกอบต่างๆ ที่ต้องใช้
การทำงานวิดีโอจะเป็นต้องเตรียมองค์ประกอบต่างๆ ตั้งแต่ไฟล์วิดีโอ
ไฟล์เสียงดนตรีให้พร้อม เพื่อช่วยให้การทำงานรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีแหล่งต่างๆ
ดังนี้
- ไฟล์วิดีโอจากภาพยนต์ หรือสารคดี ข่าว
- การถ่ายทำวิดีโอเอง
- การเตรียมไฟล์เสียงและบรรยาย
ขั้นตอนที่ 3 การตัดต่อวิดีโอ (ให้สอดคล้องกับ StoryBoard ที่วางไว้)
เป็นการนำองค์ประกอบต่างๆ ที่เตรียมไว้มาตัดต่อเป็นงานวิดีโอ
ขั้นตอนตัดต่อคือ
1. Capture (จับภาพจากกล้อง/ดึงข้อมูลวีดีโอจากแผ่น CD/DVD)
2. Edit (แก้ไข/ตัดต่อ)
3. Effect (ใส่เอ็ฟเฟ็กต์)
4. Overlay (ทำภาพซ้อน)
5. Title (ใส่ตัวหนังสือ)
6. Audio (ใส่ดนตรีประกอบ/บันทึกเสียงบรรยาย)
7. Share (บันทึกวีดีโอที่ตัดต่อแล้ว ลงสื่อต่างๆ)
ขั้นตอนต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น สามารถข้ามไปยังส่วนอื่นได้
เช่น อาจจะไปใส่ดนตรีประกอบก่อน แล้วมาใส่ตัวหนังสือภายหลังก็ได้
หรือเมื่อตัดต่อเสร็จในข้อ 2 แล้วก็อาจจะไปเลือกข้อ 7 เพื่อเขียนลงแผ่น
ก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทำครบทุกขั้นตอน ซึ่งขึ้นอยู่กับว่า คุณจะตัดต่อวีดีโอ
อย่างไร และต้องทำอะไรบ้างในการตัดต่อ
ขั้นตอนต่างๆ ในการตัดต่อวีดีโอ
Capture เมื่อเปิด project ใน Ulead แล้ว ในขั้นตอน Capture นี้
คุณสามารถที่จะบันทึกวีดีโอจากกล้องวีดีโอดิจิตอลเป็นไฟล์ลงในคอมพิวเตอร์ได้
วีดีโอที่บันทึกจากกล้องลงคอมพิวเตอร์นั้น สามารถที่จะบันทึกเป็นไฟล์เพียง
ไฟล์เดียว หรือให้แยกเป็นไฟล์ได้หลายๆ ไฟล์โดยอัตโนมัติ และในขั้นตอน
การจับภาพนี้ นอกจากคุณจับภาพวีดีโอแล้วยังสามารถที่จะบันทึกภาพจาก
วีดีโอเป็นภาพนิ่งได้อีกด้วย
Edit ขั้นตอนการแก้ไขและ Timeline นี้ เป็นจุดสำคัญของการใช้
Ulead VideoStudio ในขั้นตอนนี้คุณสามารถที่จะเรียงลำดับคลิปวีดีโอ
ที่ถ่ายมาแต่ไม่ได้เรียงลำดับเหตุการณ์กัน ก็มาเรียงลำดับเหตุการณ์ใน
ขั้นตอนนี้ หรือแทรกคลิปวีดีโออื่นๆ เข้ามาในกระบวนการตัดต่อ เช่น
หลังจากที่คุณจับภาพมาจากกล้องแล้ว เห็นว่าคลิปวีดีโอที่มีอยู่ในเครื่อง
เหมาะสม น่าที่จะนำมาแทรกในบางช่วงของวีดีโอที่คุณกำลังตัดต่อ
ก็สามารถทำได้ กรณีที่มีคลิปวีดีโอเพียงไฟล์เดียว เช่น จับภาพวีดีโอ
มาเป็นไฟล์เดียว ไม่ได้แยกไฟล์เป็นหลายๆ ส่วนก็สามารถตัดแยก
scene วีดีโอได้ เพื่อใส่เอ็ฟเฟ็กต์ระหว่าง scene ลบคลิปวีดีโอที่ไม่
ต้องการออก ตัดคลิปวีดีโอบางส่วนที่ถ่ายเสียหรือไม่ต้องการออก
และการใส่วีดีโอฟิลเตอร์ (เช่น การใส่ตัวฟิลเตอร์ ฝนตกในคลิปวีดีโอ
ทำให้คลิปวีดีโอนั้นดูเหมือนมีฝนตกจริงๆ ) ก็สามารถทำได้ในขั้นตอนนี้เช่นกัน
Effect ในขั้นตอนนี้ ให้คุณสามารถใส่ทรานสิชั่น (transition)
ระหว่างคลิปวีดีโอใน project ซึ่งใน Ulead นี้จะมีกลุ่มของทรานสิชั่นต่างๆ
ให้เลือกอย่างมากมายใน Library ทรานสิชั่น เป็นเอ็ฟเฟ็กต์ที่ใส่ไว้ในระหว่างคลิป
ทำให้วีดีโอดูน่าสนใจยิ่งขึ้น เช่น ฉากที่ค่อยๆ จางหายไปจนมืด แล้วก็มีฉากถัดไป
ที่จางแล้วค่อยๆ ชัดเจนขึ้น หรือในระหว่างที่มีการเปลี่ยนฉากนั้น จะมีภาพซ้อนกัน
ของทั้งสองฉาก เป็นต้น นี่เป็นการใส่ทรานสิชั่นนั่นเอง
Overlay ขั้นตอนนี้เป็นการซ้อนคลิปวีดีโอบนคลิปวีดีโอที่มีอยู่ เหมือนกับ
ที่เราดูโทรทัศน์ ที่มีการสัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับดารา แล้วก็มีกรอบเล็กๆ เป็นภาพ
ของดาราที่กำลังดูบุคคลอื่นพูดถึงตนเองอยู่
Title ใส่ตัวหนังสือในวีดีโอ เช่น ชื่อเรื่องวีดีโอ แสดงชื่อบุคคล หรือตัวหนังสือ
ปิดท้ายวีดีโอ ใครถ่ายทำถ่ายเมื่อไหร่ ที่ไหน เป็นต้น สามารถที่จะสร้างตัวหนังสือ
แบบเคลื่อนไหวได้ มีมากมากหลายแบบ เช่น ตัวหนังสือลอยจากจอภาพด้านล่าง
ขึ้นไปด้านบน เหมือนกับตัวหนังสือเมื่อดูภาพยนตร์ตอนจบ หรือจะวิ่งจากด้านขวามือ
มาซ้ายมือ หรือจะเลือกชุดสำเร็จรูปจาก Library ก็ได้
Audio ขั้นตอนนี้สำหรับใส่ดนตรีประกอบวีดีโอ สามารถเลือกเพลงจากแผ่น
CD แล้วบันทึกมาเป็นไฟล์ ทำดนตรีประกอบได้ บันทึกเสียงบรรยายวีดีโอ รวมทั้ง
การปรับแต่งเสียงต่างๆ เช่น ลดเสียงในวีดีโอต้นฉบับ ในบางช่วงขณะที่บันทึกเสียง
บรรยายลงไป เพื่อให้ได้ยินเสียงบรรยายชัดเจนมากยิ่งขึ้น หรือปรับระดับเสียง
ของดนตรีประกอบ เป็นต้น
Share ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนสุดท้าย เมื่อตัดต่อวีดีโอเสร็จแล้ว ก็จะเป็น
สร้างไฟล์วีดีโอสำหรับเผยแพร่ผลงาน สามารถทำได้หลายแบบ เช่น สร้างไฟล์
วีดีโอสำหรับเผยแพร่ผลงานบนเว็บ เขียนวีดีโอที่ตัดต่อเสร็จแล้วกลับลงเทป
อีกครั้ง เขียนลงแผ่น CD เป็น VCD หรือเขียนลง DVD
1. เมื่อติดตั้งตัวโปรแกรมแล้ว ก็เปิดการใช้งาน
2. เลือกที่ VideoStudio Editor เพื่อสร้างไฟล์วีดีโอ
3. หน้าตาของตัวโปรแกรมในขณะใช้งาน
4. ตรงส่วนนี้จะมีให้เลือกหน้าตาในการปรับแต่งไฟล์วีดีโอ
5. จากนั้นให้ Right Click ที่ช่องแนบไฟล์ เพื่อเลือกไฟล์ภาพ หรือวีดีโอ
6. เลือกไฟล์ที่ต้องการใส่ในวีดีโอ สามารถลากเมาส์เพื่อเลือกทีละมากกว่าหนึ่งไฟล์
จากนั้นกด Open
7. หากต้องการใส่เพลงให้กับวีดีโอ ก็ให้ Right Click แล้วเลือกแนบไฟล์ Audio
8. เลือกเพลงที่ต้องการ แล้วกด Open
9. ก็จะได้ดังภาพ
พึงจดจำ หมั่นเซฟไฟล์โปรเจคเป็นระยะๆ เพื่อว่าหากมีข้อขัดข้อง
โปรแกรมไม่ทำงาน เรายังสามารถเรียกงานเดิมกลับมาทำใหม่ได้
ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ !
2. เลือกที่ VideoStudio Editor เพื่อสร้างไฟล์วีดีโอ
3. หน้าตาของตัวโปรแกรมในขณะใช้งาน
4. ตรงส่วนนี้จะมีให้เลือกหน้าตาในการปรับแต่งไฟล์วีดีโอ
5. จากนั้นให้ Right Click ที่ช่องแนบไฟล์ เพื่อเลือกไฟล์ภาพ หรือวีดีโอ
6. เลือกไฟล์ที่ต้องการใส่ในวีดีโอ สามารถลากเมาส์เพื่อเลือกทีละมากกว่าหนึ่งไฟล์
จากนั้นกด Open
7. หากต้องการใส่เพลงให้กับวีดีโอ ก็ให้ Right Click แล้วเลือกแนบไฟล์ Audio
8. เลือกเพลงที่ต้องการ แล้วกด Open
9. ก็จะได้ดังภาพ
พึงจดจำ หมั่นเซฟไฟล์โปรเจคเป็นระยะๆ เพื่อว่าหากมีข้อขัดข้อง
โปรแกรมไม่ทำงาน เรายังสามารถเรียกงานเดิมกลับมาทำใหม่ได้
ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ !
10. ไฟล์ที่ได้มา จะเป็นนามสกุล .VSP เป็นไฟล์โปรเจคของโปรแกรม Ulead
11. นอกจากไฟล์ภาพแล้ว ยังสามารถแนบไฟล์วีดีโอ มาสร้างไฟล์ร่วมกันได้
12. จากนั้นเป็นการปรับแต่งไฟล์วีดีโอที่จะทำ โดยเลือกเอฟเฟคที่ต้องการ
แล้วใช้เมาส์คลิกลากลงไปวางระหว่างไฟล์
13. ยังมีเอฟเฟคต่างๆ ให้เลือกตามที่ต้องการ
14. เอฟเฟคระหว่างไฟล์ เราสามารถจับลากให้สั้นยาวได้ตามต้องการ
แต่จะต้องคอยปรับความยาวของภาพและไฟล์ด้วยตามลำดับ เนื่องจาก
เอฟเฟคเหล่านี้จะย่นความยาวของไฟล์โดยอัตโนมัติ เพื่อแทรกแอนนิเมชั่น
Tips :
เนื่องจากมีอีเฟคมากมายให้เลือก แต่มิใช่ว่าเราจะใช้ทั้งหมด เราสามารถเลือก
เพียงแค่ไม่กี่อย่างที่เราชอบและใช้บ่อย ไว้ในหมวดที่ฉันชื่นชอบ เพื่อเรียกใช้
ได้สะดวกขึ้นด้วยการ Right Click –> Add to My Favorites
15. หลังจากเพิ่มอีเฟคหมดแล้ว ก็ปรับแต่งความยาวของแต่ละไฟล์ตามต้องการ
16. การใส่ข้อความ (Title ) ลงในวีดีโอ เป็นการใส่ข้อความต่างๆ
ลงบนหน้าจอวีดีโอ สำหรับยูหลีด11 สามารถใส่ภาษาจีนได้
แอนนิเมชั่นข้อความ ที่มากับตัวโปรแกรม ก็มีให้เลือกสรรมากมายอยู่แล้ว
เราสามารถเลือกแอนนิเมชั่นที่เราต้องการ แล้วจับลากลงช่อง Text
17. Double Click ที่กล่องข้อความ เพื่อทำการแก้ไขปรับแต่งต่างๆ
18. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ
19. ส่วนนี้คือการปรับแต่งฟอนต์ และเอฟเฟคต่างๆ ของข้อความ
20. ถัดไป คือการปรับแต่งแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ
ในการแสดงผล ให้ติ๊กที่ Apply animation เพื่อให้แสดงผล
แอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ
21. ส่วนนี้คือการปรับแต่งเพิ่มเติม ของการแสดงผลแอนนิเมชั่น
ในการแก้ไขข้อความ ให้ Doubble Click ที่กล่องข้อความที่หน้าจอ
จึงจะสามารถเปลี่ยนข้อความได้
22. เช่นกัน กล่องข้อความก็สามารถลากสั้นยาวได้ตามที่ต้องการ
Audio : การปรับแต่งไฟล์ออดิโอของวีดีโอ เป็นการปรับแต่งต่างๆ
ให้กับไฟล์เสียง เช่น ปรับเสียง หรืออีเฟคอื่นๆ เพิ่มเติม
23. คลิ้กที่ไฟล์ออดิโอ
24. ในส่วนนี้คือการปรับแต่ง ส่วนของการแยกลำโพงซ้ายขวานั้น
เหมาะกับการสร้างวีดีโอ จากไฟล์วีดีโอที่มีการพากษ์เสียงมากกว่า
หนึ่งภาษา หรือไฟล์คาราโอเกะ เราสามารถปรับตรงนี้เพื่อเลือก
ภาษาเดียว หรือเลือกแค่เสียงคาราโอเกะ
25. เมื่อเสร็จสิ้นการปรับแต่งเบื้องตน ก็ถึงลำดับของการสร้างไฟล์วีดีโอ
คลิ้กที่ Share เพื่อสร้างไฟล์
26. เลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการจะสร้าง ในกรณีของการสร้างไฟล์วีดีโอ
สำหรับทำแผ่นวีซีดี แนะนำให้เลือก mpeg2 ซึ่งเป็นไฟล์ชนิดเดียวกันกับ
mpeg1 แต่คุณภาพรูปภาพจะชัดกว่า mpeg1 หนึ่งเท่าตัว
หรือจะเลือกเป็น SVCD หรืออื่นๆ ก็ได้เช่นกัน
27. หลังจากนั้นก็ปล่อยให้โปรแกรมเรนเดอร์ไฟล์วีดีโอ
(สร้างไฟล์วีดีโอ) ในระหว่างนี้ ไม่ควรเปิดโปรแกรมอื่นๆ
มาใช้งาน เพื่อว่าจะได้ไฟล์ที่มีคุณภาพดีที่สุด
11. นอกจากไฟล์ภาพแล้ว ยังสามารถแนบไฟล์วีดีโอ มาสร้างไฟล์ร่วมกันได้
12. จากนั้นเป็นการปรับแต่งไฟล์วีดีโอที่จะทำ โดยเลือกเอฟเฟคที่ต้องการ
แล้วใช้เมาส์คลิกลากลงไปวางระหว่างไฟล์
13. ยังมีเอฟเฟคต่างๆ ให้เลือกตามที่ต้องการ
14. เอฟเฟคระหว่างไฟล์ เราสามารถจับลากให้สั้นยาวได้ตามต้องการ
แต่จะต้องคอยปรับความยาวของภาพและไฟล์ด้วยตามลำดับ เนื่องจาก
เอฟเฟคเหล่านี้จะย่นความยาวของไฟล์โดยอัตโนมัติ เพื่อแทรกแอนนิเมชั่น
Tips :
เนื่องจากมีอีเฟคมากมายให้เลือก แต่มิใช่ว่าเราจะใช้ทั้งหมด เราสามารถเลือก
เพียงแค่ไม่กี่อย่างที่เราชอบและใช้บ่อย ไว้ในหมวดที่ฉันชื่นชอบ เพื่อเรียกใช้
ได้สะดวกขึ้นด้วยการ Right Click –> Add to My Favorites
15. หลังจากเพิ่มอีเฟคหมดแล้ว ก็ปรับแต่งความยาวของแต่ละไฟล์ตามต้องการ
16. การใส่ข้อความ (Title ) ลงในวีดีโอ เป็นการใส่ข้อความต่างๆ
ลงบนหน้าจอวีดีโอ สำหรับยูหลีด11 สามารถใส่ภาษาจีนได้
แอนนิเมชั่นข้อความ ที่มากับตัวโปรแกรม ก็มีให้เลือกสรรมากมายอยู่แล้ว
เราสามารถเลือกแอนนิเมชั่นที่เราต้องการ แล้วจับลากลงช่อง Text
17. Double Click ที่กล่องข้อความ เพื่อทำการแก้ไขปรับแต่งต่างๆ
18. ส่วนนี้คือการปรับตำแหน่งของกล่องข้อความ
19. ส่วนนี้คือการปรับแต่งฟอนต์ และเอฟเฟคต่างๆ ของข้อความ
20. ถัดไป คือการปรับแต่งแอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ
ในการแสดงผล ให้ติ๊กที่ Apply animation เพื่อให้แสดงผล
แอนนิเมชั่นของกล่องข้อความ
21. ส่วนนี้คือการปรับแต่งเพิ่มเติม ของการแสดงผลแอนนิเมชั่น
ในการแก้ไขข้อความ ให้ Doubble Click ที่กล่องข้อความที่หน้าจอ
จึงจะสามารถเปลี่ยนข้อความได้
22. เช่นกัน กล่องข้อความก็สามารถลากสั้นยาวได้ตามที่ต้องการ
Audio : การปรับแต่งไฟล์ออดิโอของวีดีโอ เป็นการปรับแต่งต่างๆ
ให้กับไฟล์เสียง เช่น ปรับเสียง หรืออีเฟคอื่นๆ เพิ่มเติม
23. คลิ้กที่ไฟล์ออดิโอ
24. ในส่วนนี้คือการปรับแต่ง ส่วนของการแยกลำโพงซ้ายขวานั้น
เหมาะกับการสร้างวีดีโอ จากไฟล์วีดีโอที่มีการพากษ์เสียงมากกว่า
หนึ่งภาษา หรือไฟล์คาราโอเกะ เราสามารถปรับตรงนี้เพื่อเลือก
ภาษาเดียว หรือเลือกแค่เสียงคาราโอเกะ
25. เมื่อเสร็จสิ้นการปรับแต่งเบื้องตน ก็ถึงลำดับของการสร้างไฟล์วีดีโอ
คลิ้กที่ Share เพื่อสร้างไฟล์
26. เลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการจะสร้าง ในกรณีของการสร้างไฟล์วีดีโอ
สำหรับทำแผ่นวีซีดี แนะนำให้เลือก mpeg2 ซึ่งเป็นไฟล์ชนิดเดียวกันกับ
mpeg1 แต่คุณภาพรูปภาพจะชัดกว่า mpeg1 หนึ่งเท่าตัว
หรือจะเลือกเป็น SVCD หรืออื่นๆ ก็ได้เช่นกัน
27. หลังจากนั้นก็ปล่อยให้โปรแกรมเรนเดอร์ไฟล์วีดีโอ
(สร้างไฟล์วีดีโอ) ในระหว่างนี้ ไม่ควรเปิดโปรแกรมอื่นๆ
มาใช้งาน เพื่อว่าจะได้ไฟล์ที่มีคุณภาพดีที่สุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น